Skip to main content
search
ข่าวประชาสัมพันธ์

แนะนำบุคลากรสายวิชาการ

By 14 กรกฎาคม 2023เมษายน 4th, 2024No Comments

บุคลากรสายวิชาการ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

Asst.Dr.Ratanakorn Kitsanachandee

ผศ.ดร.รัตนากร กฤษณชาญดี

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นางสาวรัตนากร กฤษณชาญดี

ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สาขาเชี่ยวชาญ พืชศาสตร์

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต (การปรับปรุงพันธุ์พืช) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2555
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
(เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2550
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2546

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
สุขเกษม ทิพภูนอก, สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง, ประพฤติ พรหมสมบรูณ์, และรัตนากร กฤษณชาญดี. (2564). อิทธิพลของปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของเท้ายายม่อม. ในการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 59 เมื่อวันที่ 10-12 มีนาคม 2564 (น. 10-17). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.
บุญนี ซึม, สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง, รัตนากร กฤษณชาญดี, และสมทบ สันติเบญจกุล. (2563). อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลิตของสาคูไทย. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 17 เมื่อวันที่ 2-3 ธันวาคม 2563 (น. 298-305). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
รัตนากร กฤษณชาญดี. (2561). ผลของการใช้น้ำสารสกัดสาหร่ายน้ำจืดร่วมกับปุ๋ยมูลสัตว์ต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอมพันธุ์กรีนโอ๊คที่ปลูกในระบบเกษตรอินทรีย์. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, 11(2), 45-49.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

ปริญญาตรี

1. รายวิชาหลักปฏิบัติที่ดีในการผลิตพืช (Good practices in crop production) : ผู้จัดการรายวิชาและผู้สอน
2. รายวิชาพืชไร่อุตสาหกรรม (Industrial field crops: พืชตระกูลถั่ว): ผู้ร่วมสอน
3. รายวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช (Plant production technology): ผู้จัดการายวิชาและผู้สอน
4. รายวิชาปัญหาพิเศษ (Special Problem): ผู้ร่วมสอน
5. รายวิชาฝึกงานพืชศาสตร์ 1 (Field practices in plant science 1: ฐานพืชไร่) : ผู้ร่วมสอน
6. รายวิชาสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร (Agricultural environment): ผู้ร่วมสอน
7. รายวิชาสัมมนาพืชศาสตร์ (Seminar in Plant Science): ผู้ร่วมสอน
8. รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพพืชปลูก (Crop biotechnology) ผู้ร่วมสอน
9. รายวิชาปัญหาพิเศษ (Special Problem): ผู้จัดการายวิชาและผู้สอน

ปริญญาโท

1.รายวิชาการปรับปรุงพันธุ์พืชขั้นสูง (Advanced plant breeding): ผู้ร่วมสอน
2.รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์พืช (Biotechnology in Plant Breeding)

Asst.Dr. Rattikarn Sennoi

ผศ.ดร.รัตติกาล เสนน้อย

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นางสาวรัตติกาล เสนน้อย

ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สาขาเชี่ยวชาญ พืชศาสตร์

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พืชไร่) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2556
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2551

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
Chinawon, S., Sennoi, R., Boonkrachang, N. & Phromsomboon, P. (2022). Effect of seedling management under aerobic soil on the yield and yield components of Kum Bangpra rice variety (Oryza sativa L.). International Journal of Agricultural Technology, 18(4), 1445-1460.
Sennoi, R., Jogloy, S., and Gleason, M.L. (2021). Development of an oxalic acid assay to evaluate sclerotium rolfsii resistance in Jerusalem artichoke. SABRAO J. Breed. Genet., 53(1), 70-8.
อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, รัตติกาล เสนน้อย, และประพฤติ พรหมสมบูรณ์. (2565). การเจริญเติบโตและพัฒนาของข้าวก่ำบางพระภายใต้สภาพแสงที่ต่างกัน. วารสารผลิตกรรมการเกษตร 4(1), 1-12.
ไสว บุดดีวงษ์, ปราโมทย์ พรสุริยา, และรัตติกาล เสนน้อย. (2565). ผลของพื้นที่ปลูกที่แตกต่างกันในภาคตะวันออกต่อค่า CCS ของอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 และพันธุ์ LK92-11. แก่นเกษตร, 50(พิเศษ 1), 478-483.
รัตติกาล เสนน้อย, และรัตนจิรา รัตนประเสริฐ. (2563). อิทธิพลของวันปลูกต่อน้ำหนักและขนาดหัวของแก่นตะวัน. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 11” “วิจัยและนวัตกรรมวิถีใหม่” (น. 129-136). สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
รัตนจิรา รัตนประเสริฐ, รัชนี พุทธา, ยุพา บุตรดาพงษ์, และ รัตติกาล เสนน้อย. (2563). อิทธิพลของปุ๋ยมูลไก่ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันเทศพันธุ์ต่าง ๆ. วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี, 1(3), 42-51.
รัตติกาล เสนน้อย, และรัชนี พุทธา. (2562). ความหวานของหัวแก่นตะวันหลังจากเก็บรักษาที่ระยะเวลาแตกต่างกัน. แก่นเกษตร, 47(พิเศษ 1), 543 – 548.
รัชนี พุทธา, และรัตติกาล เสนน้อย. (2562). ผลของชนิดน้ำส้มควันไม้และขนาดของหัวต่อปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้ของหัวแก่นตะวัน. แก่นเกษตร 47(พิเศษ 1), 611 – 616.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี

1.รายวิชาสถิติและการวางแผนการทดลองทางเทคโนโลยีการผลิตพืช
2.รายวิชาเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์
3.รายวิชาเทคโนโลยีการให้น้าพืชไร่และระบบอัตโนมัติ
4.รายวิชาพืชไร่เศรษฐกิจและพืชพลังงาน

ระดับปริญญาโท

1.รายวิชาการผลิตเมล็ดพันธุ์และธุรกิจเมล็ดพันธุ์
2.รายวิชาการจัดการและควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์
3.รายวิชาการปรับสภาพและเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์

Asst.Dr. Apisit Chittawanij

ผศ.ดร.อภิสิทธิ์ ชิตวณิช

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นายอภิสิทธิ์ ชิตวณิช
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
Doctor of Philosophy
(Electro-Optical and Materials Science) National Formosa University, Taiwan 2559
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรยั่งยืน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีการเกษตร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2550

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
Chittawanij, A., Marubodee, R., & Pornsuriya, P. (2022). Study of biochar on growth and yield of choy sum (Brassica chinensis L. var parachinensis). International Journal of Agricultural Technology, 18(3), 965-974.
Chittawanij, A. & Locharoenrat, K. (2018). Improvement of power efficiency of hybrid white OLEDs based on p-i-n structures. Revista Matéria, 23(1), 1-9.
สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, จิตติมา พาลี, ปิยะฉัตร สังข์ขาว และวนิดา ชำนาญบึงแก. 2565. ประสิทธิภาพของสารอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของผักกาดหอมพันธุ์เรดโอ๊คในระบบไฮโดรโปนิกส์. ใน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 19 วันที่ 24-25 พฤศจิกายน 2565 (น. 57-64). นครศรีธรรมราช: โรงแรมทวินโลตัส.
อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, รัตติกาล เสนน้อย, และประพฤติ พรหมสมบูรณ์. (2565). การเจริญเติบโตและพัฒนาของข้าวก่ำบางพระภายใต้สภาพแสงที่ต่างกัน. วารสารผลิตกรรมการเกษตร 4(1), 1-12.
ปราโมทย์ พรสุริยา, พรทิพย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, และสุพรรษา ชินวรณ์. (2564). การเปรียบเทียบสาย พันธุ์ถั่วฝักยาวลูกชั่วรุ่นที่ 5. แก่นเกษตร, 49(พิเศษ 1), 1031-1037.
อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, ปราโมทย์ พรสุริยา, และธนาวัฒน์ เยมอ. (2562). การใช้แสงเทียมปลูกผักสลัด Red Oak ในที่ร่ม. แก่นเกษตร 47(ฉบับพิเศษ 1), 1501-1502.
ปราโมทย์ พรสุริยา, พรทิพย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, และธนาวัฒน์ เยมอ (2561). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับสภาพแวดล้อมและเสถียรภาพของผลผลิตในถั่วฝักยาว. แก่นเกษตร, 46(พิเศษ 1), 1046-1411.
พรทิพย์ พรสุริยา, ปราโมทย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, ธนาวัฒน์ เยมอ, และรังสรรค์ กุฏิสำโรง. (2561). ผลผลิตและความดีเด่นของลูกผสมระหว่างแตงไทยกับแคนตาลูป. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 49(พิเศษ 1), 76-79.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

ปริญญาตรี

1.รายวิชาทักษะทางการเกษตร (ผู้รับผิดชอบและสอนร่วม)
2.รายวิชาการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร (ผู้รับผิดชอบและสอนร่วม)
3.รายวิชาเทคโนโลยีการผลิตผัก (สอนร่วม)
4.รายวิชาการจัดการสถานเพาะชำ (สอนร่วม)
5.รายวิชาพืชอาหารสัตว์และการจัดการทุ่งหญ้า (สอนร่วม)
6.รายวิชาสหวิทยาการทางการเกษตรเพื่อการผลิตปศุสัตว์ (สอนร่วม)

ปริญญาโท

1.รายวิชาการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมการผลิตพืช
2.รายวิชาพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงานในการผลิตพืช
3.รายวิชาภูมิปัญญาพื้นบ้านกับความหลากหลายทางชีวภาพ

Asst.Rungaroon Donjanthong

ผศ.รุ่งอรุณ ดอนจันทร์ทอง

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นางสาวรุ่งอรุณ ดอนจันทร์ทอง

ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
(สาขาพืชสวน)

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชศาสตร์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 2556
วิทยาศาสตรบัณฑิต (พืชศาสตร์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 2548

ผลงานทางวิชาการ

รุ่งอรุณ ดอนจันทร์ทอง, กฤตตินกานต์ ทองมา, และจินตนา มุงคุณโคตร. (2564). ผลของสูตรอาหารต่อการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของบัวมินูต้าลูกผสมในสภาพปลอดเชื้อที่อุณหภูมิห้อง. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ครั้งที่ 12 เมื่อ วันที่ 16-17 กันยายน 2564 (น.A123-A129). สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอิสาน.
รุ่งอรุณ ดอนจันทร์ทอง, ณ.นพชัย ชาญศิลป์ และ ณัฐวุฒิ รอดบุตร. (2562). เปรียบเทียบระบบไบโอรีแอคเตอร์ที่มีผลต่อเนื้อเยื่อบัวผันลูกผสม. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 17 วันที่ 19 – 21 พฤศจิกายน 2561 “สู่ก้าวใหม่ของพืชสวนไทย”. เชียงใหม่: ศูนย์ประชุมนานาชาติโรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว แอนด์ คอนเว็นชั่น เซ็นเตอร์. น. 18-23.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

-เทคโนโลยีการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ
-มหัศจรรย์แห่งบัว
-การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อการผลิตพืช
-สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
-เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

Asst.Dr.Supaporn Ieamkheng

ผศ.ดร.สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง

หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นางสาวสุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง

ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตรจารย์
สาขาเชี่ยวชาญ โรคพืชวิทยา

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2549
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พันธุวิศวกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2544
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2538

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
Ieamkheng, S., Santibenchakul, S. & Sooksawat, N. (2022). Potential of Maranta arundinacea residues for recycling: Analysis of total phenolic, flavonoid, and tannin contents. Biodiversitas, 23(3), 1204-1210.
ไอรดา รุ่งพลอย, สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง และบังอร ธรรมสามิสรณ์. 2565. การเปรียบเทียบผลผลิตของข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสงสายพันธุ์ดีเด่นในจังหวัดสุพรรณบุรี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 19 วันที่ 8-9 ธันวาคม 2565 (น. 73-80). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, จิตติมา พาลี, ปิยะฉัตร สังข์ขาว และวนิดา ชำนาญบึงแก. 2565. ประสิทธิภาพของสารอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของผักกาดหอมพันธุ์เรดโอ๊คในระบบไฮโดรโปนิกส์. ใน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 19 วันที่ 24-25 พฤศจิกายน 2565 (น. 57-64). นครศรีธรรมราช: โรงแรมทวินโลตัส.
สุขเกษม ทิพภูนอก, สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง, ประพฤติ พรหมสมบรูณ์, และรัตนากร กฤษณชาญดี. (2564). อิทธิพลของปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของเท้ายายม่อม. ในการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 59 เมื่อวันที่ 10-12 มีนาคม 2564 (น. 10-17). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.
บุญนี ซึม, และสุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง. (2563). อิทธิพลของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสาคูไทย. แก่นเกษตร, 48(พิเศษ 1), 1149-1154.
บุญนี ซึม, สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง, รัตนากร กฤษณชาญดี, และสมทบ สันติเบญจกุล. (2563). อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลิตของสาคูไทย. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 17 เมื่อวันที่ 2-3 ธันวาคม 2563 (น. 298-305). นครปฐม: หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง, กิตติยา ทองจันทร์, และภูษนิศา เชษฐาพงศ์. (2562). โรคเน่าที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียของกล้วยไม้สกุลม็อคคาร่าและการควบคุม. แก่นเกษตร, 47(พิเศษ 1), 1665-1672.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี

1.รายวิชาหลักและวิธีการควบคุมศัตรูพืช (Principles and methods of Plant Pests Control) :
ผู้ร่วมสอน
2.รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพพืชปลูก (Crop Biotechnology) : ผู้ประสานงานรายวิชา และผู้สอน
3.รายวิชาโรคพืชและการป้องกันกำจัด (Plant Diseases and Their Control) : ผู้ประสานงานรายวิชา และผู้สอน
4.รายวิชานิเวศวิทยาของศัตรูพืชทางการเกษตร (Ecology of Agricultural Pests) : ผู้ประสานงานรายวิชา และผู้สอน
5.รายวิชาอนุรักษ์พันธุกรรมพืช (Conservation of Plant Genetic Resources) : ผู้ร่วมสอน
6.รายวิชาสารเคมีปนเปื้อนในพืช (Chemical Contaminants in Plants) : ผู้ร่วมสอน
7.รายวิชาสัมมนาพืชศาสตร์ (Seminar in Plant Science) : ผู้จัดการรายวิชา และผู้สอน
8.รายวิชาปัญหาพิเศษ (Special Problem): ผู้ประสานงานรายวิชา และผู้สอน
9.การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี (Biological Control): ประสานงานรายวิชา และผู้สอน

ระดับปริญญาโท

1.รายวิชาวิทยานิพนธ์ (Thesis) ระดับบัณฑิตศึกษา : ผู้ประสานงานรายวิชา
2.รายวิชาสัมมนาพืชศาสตร์ 1 (Seminar in Plant Science 1) ระดับบัณฑิตศึกษา : ผู้ประสานงานรายวิชา และผู้สอน
3.รายวิชาสัมมนาพืชศาสตร์ 2 (Seminar in Plant Science 2) ระดับบัณฑิตศึกษา : ผู้ประสานงานรายวิชา และผู้สอน
4.รายวิชาเทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์พืช (Biotechnology in Plant Breeding) :
ผู้ประสานงานรายวิชา และผู้สอน

Asst.Dr. Thanidchaya Puthmee

ผศ.ดร.ธนิตชยา พุทธมี

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นางสาวธนิตชยา พุทธมี

ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สาขาเชี่ยวชาญ พืชศาสตร์

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
Doctor of Philosophy (Bioproduction) Iwate University, Japan 2557
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
(เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2550
วิทยาศาสตรบัณฑิต (พืชศาสตร์) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 2547

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
Promsomboon, P., Komomolmas, A., Sennoi, R., Puthmee, T., Ruanpan, W., Marubodee, R., & Promsomboon, S. (2018). Agronomic traits, chemical and physical properties of local Thai rice, BP2012-009 and BP2012-010 lines derived from bulk selection method. International Journal of Biotechnology and Bioengineering, 45(1), 11-16.
ธนิตชยา พุทธมี, ภาวินีย์ ผิวจันทร์, มาริษา รัตนโชติ, และรุศมา มฤบดี. (2561). การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมีของผลมะม่วงหาวมะนาวโห่ในระหว่างการพัฒนาของผล. วารสารแก่นเกษตร, 46(พิเศษ 1), 1254-1258.
ธนิตชยา พุทธมี, จุฑามาศ นาเจริญ, และพงษ์ตะวัน พันธะนะแพทย์. (2561). การเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของผลฝรั่งระหว่างรอการแปรรูป. วารสารแก่นเกษตร, 46(พิเศษ 1), 1343-1347.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

ปริญญาตรี

1.รายวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและมาตรฐานผลิตผลพืช
2.รายวิชาเทคโนโลยีการบรรจุภัณฑ์
3.รายวิชาการจัดการไม้ผล

ปริญญาโท

1.รายวิชาเทคโนโลยีสรีรวิทยาและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตเกษตร
2.รายวิชาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์และนวัตกรรมโลจิสติกส์สินค้าเกษตร
รายวิชานวัตกรรมเกษตรแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร

Asst.Dr.Tanawat Yemor

ผศ.ดร.ธนาวัฒน์ เยมอ

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นายธนาวัฒน์ เยมอ

ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
ปรัชญาดุษฏีบัญฑิต (วิทยาศาสตร์ชีวภาพ) มหาวิทยาลัยบูรพา 2558
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
(วิทยาศาสตร์ชีวภาพ) มหาวิทยาลัยบูรพา 2553
วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยบูรพา 2550

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
Maksong, S., Yemor, T. & Yanmanee, S. (2019). Detection of nosemosis in European honeybees (Apis mellifera) on honeybees farm at Kanchanaburi, Thailand. IOP Conf. Series: Materials Science and Engineering, 639, 1-8.
ธนาวัฒน์ เยมอ, และสัมฤทธิ์ มากสง. 2565. ประสิทธิภาพของการใช้หนอนด้วงแรดมะพร้าว (Oryctes rhinoceros L.) และไส้เดือนสายพันธุ์ AF (Eudrilus eugeniae) ในการผลิตปุ๋ยหมักและการจัดการของเสีย. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจําปี พ.ศ. 2565 ด้านสารสนเทศ การเกษตร การจัดการ บริหารธุรกิจ วิศวกรรมศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 26-27 พฤษภาคม 2565 (น. 113-122). ชุมพร: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร.
ปราโมทย์ พรสุริยา, พรทิพย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, และธนาวัฒน์ เยมอ. (2561). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับสภาพแวดล้อมและเสถียรภาพของผลผลิตในถั่วฝักยาว. แก่นเกษตร, 46(พิเศษ 1), 1046-1411.
พรทิพย์ พรสุริยา, ปราโมทย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, ธนาวัฒน์ เยมอ, และรังสรรค์ กุฏสำโรง. (2561). ผลผลิตและความดีเด่นของลูกผสมระหว่างแตงไทยกับแคนตาลูป. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 49(พิเศษ 1), 617-620.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี

1.รายวิชาแมลงและการป้องกันกำจัด
2.รายวิชาการจำแนกพรรณไม้
3.รายวิชาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

ระดับปริญญาโท

1.รายวิชาการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน

Ms. Wachiraporn Ruanpan

อ.วชิราภรณ์ เรือนแป้น

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นางสาววชิราภรณ์ เรือนแป้น

ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2548
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2543

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
Promsomboon, P., Sennoi, R., Puthmee, T., Marubodee, R., Ruanpan, W. & Promsomboon, S. (2019). Effect of seedlings numbers per hill on the growth and yield of Kum Bangpra RiceVariety (Oryza sativa L.). International Journal of Agricultural Technology, 15(1), 103-112.
Promsomboon, P., Komolmas, A., Sennoi, R., Puthmee, T., Ruanpan, W., Marubodee, R., & Promsomboon, S. (2018). Agronomic traits, chemical and physical properties of local thai rice, BP2012-009 and BP2012-010 lines derived from bulk selection method. International Journal of Biotechnology and Bioengineering 4(1), 11-16.
รุศมา มฤบดี และวชิราภรณ์ เรือนแป้น. 2563. ผลของการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของเท้ายายม่อม. วารสารวิชาการ มทร. สุวรรณภูมิ 8(2), 153-164.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

-ดิน น้ำ ปุ๋ย และการจัดการ
-การจัดการระบบนิเวศเกษตรอินทรีย์
-สหกิจศึกษาทางเทคโนโลยีการผลิตพืช
-ฝึกงานพิเศษ
-มลพิษของดินและการจัดการดิน

ประสบการณ์
วิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิ

-วิทยากร เรื่อง การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ให้เกิดความยั่งยืน และ กลุ่มสาธิตการเลี้ยงไส้เดือนเพื่อผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือน โครงการฝึกอบรมงานเกษตรแห่งชาติ ประจำปี 2560 กิจกรรมย่อยที่ 2 การอบรมเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อความยั่งยืน วันที่ 10 กรกฎาคม 2560 ณ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ตามหนังสือราชการที่ ศธ 0580.201(1)/ว0790
-วิทยากรกลุ่มบรรยายและปฏิบัติ การปลูกข้าวอินทรีย์ (ข้าวในกะละมัง) โครงการฝึกอบรมงานเกษตรแห่งชาติ ประจำปี 2560 วันที่ 8-16 กรกฎาคม 2560 ณ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ตามหนังสือราชการที่ ศธ 0580.201(1)/ว0628
-วิทยากร การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในการผลิตสินค้าเกษตร โครงการฝึกอบรมภายใต้โครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตภาคการเกษตร ปี 2561 วันที่ 21 มีนาคม 2561 และ วันที่ 10 พฤษภาคม 2561 ตามหนังสือราชการที่ กษ 0224.ชบ/516
-ที่ปรึกษาบริษัทที่ผลิตผักอินทรีย์และการผลิตสารปรับปรุงดิน
การอบรม/สัมมนา
-เข้าร่วมการอบรมที่ปรึกษาเกษตรกร (Train the Trainer) สำหรับมาตรฐานสากล วันที่ 31 มกราคม 2561 ณ โรงแรมเดอะไทด์ รีสอร์ท บางแสน
-เข้าร่วมสัมมนาสหกิจศึกษาสัญจรภาคตะวันออก “นวัตกรรมและสหกิจ 4.0” วันที่ 4 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมนิวแทรเวิล ลอด์จ โฮเทล จ.จันทบุรี
-เข้าร่วมประชุมเสวนาทางวิชาการ เรื่อง “อาหารปลอดภัย จากผู้ผลิต ถึงผู้บริโภคอย่างไร” วันที่ 19 มิถุนายน 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
-เข้าร่วมมหกรรมรวมผลผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่ ครั้งที่ 2 เรื่อง นวัตกรรมอาหารปลอดภัยในวิถีเกษตรกรรมยั่งยืนของดี 4 ภาค วันที่ 21-23 พฤษภาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
-เข้าร่วมงานประชุมวิชาการ สวก. 2562 Beyond Disruptive Technology จุดเปลี่ยนอนาคตไทยด้วยงานวิจัยเกษตร วันที่ 8-9 ตุลาคม 2562 ณ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ

Assoc.Dr.Pramote Pornsuriya

รศ.ดร.ปราโมทย์ พรสุริยา

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นายปราโมทย์ พรสุริยา

ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์
สาขาเชี่ยวชาญ พืชสวน

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
วิทยาศาสตรดุษฏีบัณฑิต (พืชสวน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2548
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2537
วิทยาศาสตรบัณฑิต (การจัดการศัตรูพืช)
เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2528

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
Chittawanij, A., Marubodee, R., & Pornsuriya, P. (2022). Study of biochar on growth and yield of choy sum (Brassica chinensis L. var parachinensis). International Journal of Agricultural Technology, 18(3), 965-974.
Pornsuriya, P., Pornsuriya, P., Kwun-on, P. & Chittawanij, A. (2021). Yield stability of new elite lines of yardlong bean (Vigna unguiculata (L.) Walp. subsp. sesquipedalis Verdc.). International Journal of Agricultural Technology, 17(6), 2251-2264.
Pornsuriya, P., Pornsuriya, P., Chittawanij, A., & Kwan-on, P. (2019). Lines Comparison and Effect of Inbreeding on Fruit Characters of Lines Developed from an Open-Pollinated Sweet Melon Population. In Proceedings of The 10th Rajamangala University of Technology International Conference (pp. 50-54). Chiang Mai: Rajamangala University of Technology Lanna.
Pornsuriya, P., Pornsuriya, P. & Chittawanij, A. (2019). Augmented analysis for yield and pod characteristics of yardlong bean (Vigna unguiculata (L.) Walp. spp. sesquipedalis Verdc.) lines. International Journal of Agricultural Technology, 15(6), 987-996.
ไสว บุดดีวงษ์, ปราโมทย์ พรสุริยา, และรัตติกาล เสนน้อย. (2565). ผลของพื้นที่ปลูกที่แตกต่างกันในภาคตะวันออกต่อค่า CCS ของอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 และพันธุ์ LK92-11. แก่นเกษตร, 50(พิเศษ 1), 478-483.
ปราโมทย์ พรสุริยา, พรทิพย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, และสุพรรษา ชินวรณ์. (2564). การเปรียบเทียบสาย พันธุ์ถั่วฝักยาวลูกชั่วรุ่นที่ 5. แก่นเกษตร, 49(พิเศษ 1), 1031-1037.
ปราโมทย์ พรสุริยา, ประพฤติ พรหมสมบูรณ์, และหนูจันทร์ ศิริสุวรรณ์. (2563). การประเมินสายพันธุ์ข้าวโพดเทียนที่คัดเลือกจากพันธุ์พื้นเมือง. วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี, 1(3), 22-32.
ปราโมทย์ พรสุริยา, พรทิพย์ พรสุริยา, และธันวา เกตุโอน. (2562). การคัดเลือกและการกระจายของลักษณะฝักสีม่วงในสายพันธุ์ถั่วฝักยาวลูกชั่วรุ่นที่ 5. ในการประชุมทางวิชาการเมล็ดพันธุ์พืชแห่งชาติ ครั้งที่ 16 (น. 263-271). ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
ไพฑูรย์ นาคเกษม, ปราโมทย์ พรสุริยา, และประพฤติ พรหมสมบูรณ์. (2562). เสถียรภาพของผลผลิตของ ข้าวโพดข้าวเหนียว (Zea mays var. ceratina) 6 พันธุ์. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์, 6(3), 1-8.
หนูจันทร์ สิริสุวรรณ์, ปราโมทย์ พรสุริยา, และประพฤติ พรหมสมบูรณ์. (2562). การทดสอบผลผลิตในชั่วรุ่นแรกๆ ของข้าวโพดเทียน (Zea mays var. ceratina) ที่คัดเลือกจากพันธุ์พื้นเมือง. ในการประชุมสัมมนาทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 26-28 มิถุนายน 2562 (น. 574-579). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก.
จิระภา สาเภาเล็ก, ปราโมทย์ พรสุริยา, ประพฤติ พรหมสมบูรณ์, และ สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง. (2562). สมรรถนะการรวมตัวและความดีเด่นของลูกผสมของถั่วฝักยาว. ในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 18 เมื่อวันที่ 5-7 พฤศจิกายน 2562 (น. 1-7). นนทบุรี: โรงแรมริชม่อนด์ สไตล์ลิช คอนเวนชั่น.
ปราโมทย์ พรสุริยา, พรทิพย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, และธนาวัฒน์ เยมอ (2561). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับสภาพแวดล้อมและเสถียรภาพของผลผลิตในถั่วฝักยาว. แก่นเกษตร, 46(พิเศษ 1), 1046-1411.

แต่งตำรา

ปราโมทย์ พรสุริยา. (2557). การวิเคราะห์ทางไบโอเมตริกในการปรับปรุงพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ: โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์. 211 น.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี
1.Vegetable Production Technology
2.Experimental Design in Plant Science
3.Principles of plant Breeding
4.Cultivar and Product Marketing Management and Research
5.Special Problems in Plant Science
6.Field Practice in Plant Science 1

ระดับปริญญาโท

1.Research Methodology in Plant Science
2.Data Analysis Using Statistical Package
3.Advanced Plant Breeding
4.Biometrics in Plant Breeding

Asst.Dr.Rusama Marubodee

ผศ.ดร.รุศมา มฤบดี

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นางสาวรุศมา มฤบดี

ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สาขาเชี่ยวชาญ พืชศาสตร์

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
Doctor of Philosophy
(Bioresources Science) Mie University, Japan 2559
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรยั่งยืน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2555
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีการเกษตร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2551

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
Chittawanij, A., Marubodee, R., & Pornsuriya, P. (2022). Study of biochar on growth and yield of choy sum (Brassica chinensis L. var parachinensis). International Journal of Agricultural Technology, 18(3), 965-974.
Marubodee, R., Chutimanukul, P., & Chakhatrakan, S. (2018). Effects of salicanite levels and fermented periods on growth and yield of radish (Raphanus sativus var. longipinnatus). Rajamangala University of Technology Tawan-ok Research Journal, 11(1), 64-72.
พฤกษ์ ชุติมานุกูล, รุศมา มฤบดี, อรชิตา มีบุญ, และศรัณภิรมย์ งามล้วน. (2564). ผลของแคลเซียมซิลิเกตจากอุตสาหกรรมซีเมนต์ต่อการเจริญเติบโต องค์ประกอบผลผลิต และการสะสมของงาแดงสองสายพันธุ์. แก่นเกษตร, 49(4), 781-788.
รุศมา มฤบดี, และวชิราภรณ์ เรือนแป้น. (2563). ผลของการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของเท้ายายม่อม. วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ, 8(2), 153-164.
ธนิตชยา พุทธมี, ภาวินีย์ ผิวจันทร์, มาริษา รัตนโชติ, และรุศมา มฤบดี. (2561). การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมีของผลมะม่วงหาวมะนาวโห่ในระหว่างการพัฒนาของผล, แก่นเกษตร, 46 (พิเศษ 1), 1254-1258.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี

1.รายวิชาการจัดการผลิตพืชภายใต้สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
2.รายวิชาการขยายพันธุ์พืช
3.รายวิชาการสนทนาภาษาอังกฤษทางการเกษตร
4.รายวิชาการจัดการเกษตรอย่างยั่งยืน

ระดับปริญญาโท

1.รายวิชาระบบเกษตรยั่งยืนกับการเกษตรไทย

Dr. Supansa Chinaworn

อ.ดร.สุพรรษา ชินวรณ์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นางสุพรรษา ชินวรณ์

ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
วิทยาศาสตรดุษฏีบัญฑิต (พืชไร่) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2560
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2552

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
Chinawon, S., Sennoi, R., Boonkrachang, N. & Phromsomboon, P. (2022). Effect of seedling management under aerobic soil on the yield and yield components of Kum Bangpra rice variety (Oryza sativa L.). International Journal of Agricultural Technology, 18(4), 1445-1460.
ปราโมทย์ พรสุริยา, พรทิพย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช และ สุพรรษา ชินวรณ์. (2564). การเปรียบเทียบสายพันธุ์ถั่วฝักยาวลูกชั่วรุ่นที่ 5. แก่นเกษตร, 49 (พิเศษ 1), 1031-1037.
สุพรรษา ชินวรณ์, สลิลทิพย์ นุรักษ์ทวีพร และ อนุพงศ์ วงค์ตามี. (2564). การงอกของเมล็ดและการพัฒนาของต้นข้าววัชพืชที่เก็บรวบรวมจากแปลงเกษตรกรในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารเกษตรนเรศวร, 18(1), 1-8.
สุพรรษา ชินวรณ์, อุษณรัศมิ์ รักมาก และ อนุพงศ์ วงค์ตามี. (2563). ความแปรปรวนขององค์ประกอบผลผลิตและคุณภาพการหุงต้มของข้าวพื้นเมืองที่เก็บรวบรวมจากเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารเกษตรนเรศวร, 17(1), 1-9.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

ระดับปริญญาตรี

1. รายวิชาสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร
2. รายวิชาการปรับปรุงพันธุ์พืช
3. รายวิชาเทคโนโลยีธัญพืช
4. รายวิชาภาษาอังกฤษเทคนิคทางพืชศาสตร์

ระดับปริญญาโท

1.รายวิชาการปรับปรุงพันธุ์พืชขั้นสูง
2.รายวิชาพันธุศาสตร์ปริมาณสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช
3.การปรับปรุงพันธุ์พืชทนทานต่อสิ่งแวดล้อมและต้านทานศัตรูพืช

Ms. Nathaya Ruanpan

อ.ณัฏฐยา เรือนแป้น

อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

นางสาวณัฏฐยา เรือนแป้น

ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พืชไร่) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2565
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2553
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2548

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
ณัฏฐยา เรือนแป้น กรรณิการ์ สัจจาพันธ์ และทศพล พรพรหม. (2562). ประสิทธิภาพและการตกค้างของสารโบรมาซิลและไดยูรอนสำหรับการควบคุมวัชพืชในแปลงปลูกสับปะรด. วารสารเกษตร, 35(1), 37-48.
Nathaya Ruanpan, Kannika Sajjaphan and Tosapon Pornprom. Residues of bromacil and diuron for weed control in pineapple fields. In: The 27th Asian–Pacific Weed Science Society Conference 2019, held in Kuching, Sarawak, Malaysia during September 3-6, 2019.
งานวิจัย
การสำรวจความเหมาะสมของดินในการเพาะปลูกบนพื้นที่เกาะสีชัง ภายใต้โครงการวิจัยด้านการเกษตรในเขตพื้นที่เกาะสีชัง ประจำปีงบประมาณ 2563 เป็นผู้ร่วมวิจัย

รายวิชาที่รับผิดชอบ
- วัชพืชและการป้องกันกำจัด
- การจัดการพืชไร่แบบบูรณาการ
- สารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการผลิตพืช
- เตรียมความพร้อมสหกิจศึกษาและฝึกงานทางเทคโนโลยีการผลิตพืช

ประสบการณ์

วิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิ

- วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ในครัวเรือน และ เรื่อง การผลิตปุ๋ยน้ำหมักอินทรีย์ กิจกรรมที่ 2 ครั้งที่ 3 กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิตพืชที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค (การยกระดับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร) โครงการส่งเสริมอาชีพการปลูกผักและการผลิตเมล็ดพันธุ์ผักและบูรณาการเพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคม วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 ณ ศาลาประชาคมชุมชนบ้านบุญสัมพันธ์ หมู่ 8 ต.บ้านนา อ.แกลง จ.ระยอง ตามหนังสือราชการที่ อว 0651.201(1)/ว1284
- วิทยากรบรรยายและปฏิบัติประจำฐาน เรื่อง การวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน โครงการทัศนศึกษาเชิงวิชาการ วันที่ 12 กรกฎาคม 2565 ณ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ตามหนังสือราชการที่ อว 0651.201(1)/0764
การอบรม/สัมมนา
- เข้าร่วมงานประชุมวิชาการ สวก. 2562 Beyond Disruptive Technology จุดเปลี่ยนอนาคตไทยด้วยงานวิจัยเกษตร วันที่ 8-9 ตุลาคม 2562 ณ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ

บุคลากรสายวิชาการ สาขาวิชาสัตวศาสตร์

Dr. Patama Thumdee

อ.ดร.ปัทมา ธรรมดี

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสัตวศาสตร์

Mr. Wichit Katepongpun

อาจารย์วิชิต เกตุพงษ์พันธุ์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสัตวศาสตร์

Miss. Wansuree Pramuansab

อ.วรรณสุรีย์ ประมวลทรัพย์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสัตวศาสตร์

Dr. Paweenisaras Khenjan

อ.ดร.ปวีณอิศรัชต์ เคนจันทน์

หัวหน้าสาขาวิชาสัตวศาสตร์

Asst.Dr. Surangkana Suklerd

ผศ.ดร.สุรางคนา สุขเลิศ

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสัตวศาสตร์

Far far away, behind the word mountains, far from the countries Vokalia and Consonantia, there live the blind texts. Separated they live in Bookmarksgrove right at the coast of the Semantics, a large language ocean. A small river named Duden flows by their place and supplies it with the necessary regelialia. It is a paradisematic country, in which roasted parts of sentences fly into your mouth.
Dr.Ronnachai Prommachart

อ.ดร.รณชัย พรมชาติ

Far far away, behind the word mountains, far from the countries Vokalia and Consonantia, there live the blind texts.

Far far away, behind the word mountains, far from the countries Vokalia and Consonantia, there live the blind texts. Separated they live in Bookmarksgrove right at the coast of the Semantics, a large language ocean. A small river named Duden flows by their place and supplies it with the necessary regelialia. It is a paradisematic country, in which roasted parts of sentences fly into your mouth.
Dr. Nontasak Piamphon

ผศ.ดร. นนทศักดิ์ เปี่ยมผล

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสัตวศาสตร์

Miss Hathaichanok Insoongnern

อาจารย์หทัยชนก อินทร์สูงเนิน

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสัตวศาสตร์

Miss Patcharee Promtan

อ.พัชรี พรมตัน

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสัตวศาสตร์

บุคลากรสายวิชาการ สาขาวิชาประมง

Asst. Saranya Rakseree

ผศ. ศรัณยา รักเสรี

อาจารย์ประจำสาขาวิชาประมง

Asst. Siriwan Khidprasert

ผศ. ศิริวรรณ คิดประเสริฐ

อาจารย์ประจำสาขาวิชาประมง

Asst.Dr. Chanpim Kangpanich

ผศ.ดร. จันทร์พิมพ์ กังพานิช

หัวหน้าสาขาวิชาประมง

Far far away, behind the word mountains, far from the countries Vokalia and Consonantia, there live the blind texts. Separated they live in Bookmarksgrove right at the coast of the Semantics, a large language ocean. A small river named Duden flows by their place and supplies it with the necessary regelialia. It is a paradisematic country, in which roasted parts of sentences fly into your mouth.
Dr.Chanadda Kasamechotchung

อ.ดร. ชนัดดา เกษมโชติช่วง

อาจารย์ประจำสาขาวิชาประมง

Dr. Junthip Tongjun

ดร. จันทร์ทิพย์ ทองจันทร์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาประมง

Asst.Dr. Waratit Donsujit

ผศ.ดร. วราทิตย์ ดลสุจิต

อาจารย์ประจำสาขาวิชาประมง

Far far away, behind the word mountains, far from the countries Vokalia and Consonantia, there live the blind texts. Separated they live in Bookmarksgrove right at the coast of the Semantics, a large language ocean. A small river named Duden flows by their place and supplies it with the necessary regelialia. It is a paradisematic country, in which roasted parts of sentences fly into your mouth.
Ms. Chanadda Ketma

อาจารย์ชนัดดา เกตุมา

อาจารย์ประจำสาขาวิชาประมง

บุคลากรสายวิชาการ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

Asst.Dr.Narumon Boonkrachang

ผศ.ดร.นฤมล บุญกระจ่าง

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

Asst.Dr.Kanatip Kumproa

ผศ.ดร.คณาธิป คำเพราะ

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

Dr.Naraintorn Boonsong

อ.ดร.นเรนทร บุญส่ง

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

Mr. Rangsan Kudsamrong

อาจารย์รังสรรค์ กุฎสำโรง

หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

Far far away, behind the word mountains, far from the countries Vokalia and Consonantia, there live the blind texts. Separated they live in Bookmarksgrove right at the coast of the Semantics, a large language ocean. A small river named Duden flows by their place and supplies it with the necessary regelialia. It is a paradisematic country, in which roasted parts of sentences fly into your mouth.
Mr. Chaiyasit Kaewcharoon

อาจารย์ชัยสิทธิ์ แก้วจรูญ

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

Dr.Chavaporn bumroongphuck

อ.ดร.ชวพร บำรุงพฤกษ์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

Mr.Kritsana naoprakhon

อาจารย์กฤษณะ เนาว์ประโคน

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

Asst.Dr. Najjapak Suksawad

ผศ.ดร.นัจภัค สุขสวัสดิ์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

นางสาวนัจภัค สุขสวัสดิ์

ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สาขาเชี่ยวชาญวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมหรือวิทยาการสิ่งแวดล้อม

ระดับการศึกษา

ชื่อปริญญา (สาขาวิชา) มหาวิทยาลัย/สถาบัน ปีที่สำเร็จการศึกษา
Doctor of Philosophy (Biology) Mahidol University 2556
วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล 2549

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่
Ieamkheng, S., Suntibenchakul, S., & Sooksawat, N. (2022). Potential of Maranta arundinacea residues for recycling: Analysis of total phenolic, flavonoid, and tannin contents. Biodiversitas, 23(3), 1204-1210.
Sooksawat, N., Suntibenchakul, S., Kruatrachue, M., & Inthorn, D. (2021). Recycling rice husk for removal of phosphate and nitrate from synthetic and swine wastewater: Adsorption study and nutrient analysis of modified rice husk. Journal of Environmental Science and Health, Part A: Toxic/Hazardous Substances and Environmental Engineering, 56, 1080-1092.
Sooksawat, N., Songkiawchoompol, K., Kruapoo, P., & Promsomboon, P. (2020). Physical properties and cooking qualities of 10 (local and commercial) brown rice varieties in Thailand. International Journal of Agricultural Technology, 16(3), 721-732.
นัจภัค สุขสวัสดิ์, เชิดศักดิ์ คงขวัญ, และวีระวัฒน์ บุญยิ่งเหลือ. (2564). การประเมินคุณภาพน้ำจืดสำหรับใช้ประโยชน์ในเขตตอนใต้ของพื้นที่เกาะสีชัง. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 18 เมื่อวันที่ 8-9 ธันวาคม 2564 (รูปแบบ Online Conference) (น. 2078-2087). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
สหภัทร ชลาชัย, กฤษณะ เนาว์ประโคน, รังสรรค์ กุฎสำโรง, นัจภัค สุขสวัสดิ์, ชัยสิทธิ์ แก้วจรูญ, และเชิดศักดิ์ คงขวัญ. (2564). เครื่องเก็บตัวอย่างดินแบบรวดเร็ว. ในการประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 12 “วิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจวิถีใหม่” เมื่อวันที่ 16-17 กันยายน 2564 (รูปแบบ Online Conference) (B-142 – B-149). สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.

ธมนันท์ คำพา, เธียรวุฒิ ดนตรี, ศิริธรรม สิงโต, และนัจภัค สุขสวัสดิ์. (2563). การใช้วัสดุทางการเกษตรในการผลิตแอลกอฮอล์เชื้อเพลิงแข็งและไขมันเชื้อเพลิงอัดแท่ง. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 30(2), 186-198.
นฤมล บุญกระจ่าง, ใจทิพย์ วานิชชัง, ผดุงศักดิ์ วานิชชัง, และนัจภัค สุขสวัสดิ์. (2561). ผลของกระบวนการทำข้าวนึ่งที่มีผลต่อคุณภาพการขัดสีและสมบัติทางกล. ในการประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทยระดับชาติ ครั้งที่ 19 เมื่อวันที่ 26-27 เมษายน 2561 (น. 338-395). ประจวบคีรีขันธ์: ศูนย์ประชุมนานาชาติจุฬาภรณ์.

รายวิชาที่รับผิดชอบ

1.การตอบสนองต่อความเครียดของพืช
2.การบำบัดทางชีวภาพ
3.การวิเคราะห์คุณภาพดิน น้ำและผลผลิตเกษตรอินทรีย์
4.การจัดการและการใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร
5.เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมทางการเกษตร (หลักสูตร วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร)
6.เทคโนโลยีชีวมวลและสิ่งแวดล้อม (หลักสูตร วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร)

Dr. Kriengkrai Rayanasuk

อ.ดร.เกรียงไกร รายณะสุข

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

Dr.Anuwat Pachanawan

อ.ดร. อนุวัฒน์ ภาชนะวรรณ์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

Mr.Cherdsak Khongkwan

อาจารย์เชิดศักดิ์ คงขวัญ

อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยี

บุคลากรสายวิชาการ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม

Mr. Satja Konprom

ผศ.สัจจา ก้อนพรหม

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม

Mr. Jomyot Kitnukul

อ.จอมยศ กิจนุกูล

หัวหน้าสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม

Mr. Yiampol Choatpanyatum

อ.เยี่ยมพล โชติปัญญาธรรม

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม

Mr. Phanu Aiemtom

อ.ภาณุ เอี่ยมต่อม

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม

Close Menu